Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.updc.clm.up.ac.th//handle/123456789/898
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorลิ้มวิเศษศิลป์, วัชระ-
dc.date.accessioned2021-12-23T06:38:55Z-
dc.date.available2021-12-23T06:38:55Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.citationhttp://tdc.thailis.or.th/tdc/browse.php?option=show&institute_code=191&bib=485&doc_type=0&TitleIndex=1en_US
dc.identifier.urihttp://www.updc.clm.up.ac.th//handle/123456789/898-
dc.description.abstractการศึกษาปริมาณน้ำนองสูงสุด โดยวิธี Synder เป็นการคำนวณช่วงเวลาฝนวิกฤต และการแพร่กระจายปริมาณน้ำต้นทุน เป็นรายเดือนแล้วนำมาเปรียบเทียบกับปริมาณความต้องการใช้น้ำของพืช และการใช้น้ำเพื่อการอุปโภคบริโภคของประชากรในเขตลุ่มน้ำแม่อิงตอนบนและตอนล่าง จากการวิเคราะห์ข้อมูล พบว่า พื้นที่รับน้ำฝนลุ่มน้ำแม่อิงตอนบนประมาณ 1,464 ตารางกิโลเมตร และพื้นที่รับน้ำฝนลุ่มน้ำแม่อิงตอนล่างประมาณ 796.26 ตารางกิโลเมตร ปริมาณน้ำไหลผ่านลุ่มน้ำแม่อิงตอนบนประมาณ 452.59 ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี ส่วนปริมาณน้ำไหลผ่านลุ่มน้ำแม่อิงตอนล่างประมาณ 258.89 ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี เมื่อเปรียบเทียบกับแหล่งกักเก็บน้ำในเขตพื้นที่ และความต้องการใช้น้ำของพืชพร้อมทั้งการอุปโภคบริโภคของประชากร ในเขตพื้นที่ลุ่มน้ำแม่อิงตอนบนและตอนล่าง จะเกิดปัญหาภัยแล้งในช่วงเดือนมีนาคมถึงเมษายน และจะเกิดปัญหาอุทกภัยในช่วงเดือนสิงหาคมถึงพฤศจิกายนของทุกปี แนวทางการบริหารจัดการน้ำ เพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นควรจะต้องทำไปพร้อม ๆ กันทั้ง 2 รูปแบบ คือ ในเชิงวิศวกรรมควรจะทำการวางโครงการ และดำเนินการจัดหาแหล่งน้ำทำการขยายลำน้ำให้สามารถระบายน้ำได้อย่างมีประสิทธิภาพ การทำแก้มลิงและการก่อสร้างอาคารระบายน้ำ และในเชิงเกษตรกรรม โดยการให้ความรู้ การบริหารจัดการน้ำให้เหมาะสมกับฤดูกาลแก่เกษตรกร การรวมกลุ่มเพื่อวางแผนการส่งน้ำทั่วไป ฤดูฝนและฤดูแล้ง ตลอดจนให้ความรู้เรื่องการใช้น้ำอย่างมีประสิทธิภาพen_US
dc.description.sponsorshipมหาวิทยาลัยพะเยาen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยพะเยาen_US
dc.subjectการจัดการทรัพยากรน้ำen_US
dc.subjectลุ่มน้ำแม่อิงen_US
dc.subjectกว๊านพะเยาen_US
dc.subjectWater resource managementen_US
dc.subjectIng Basinen_US
dc.subjectKwan Phayaoen_US
dc.titleการจัดการทรัพยากรน้ำของกว๊านพะเยาช่วงต้นน้ำและท้ายน้ำอย่างยั่งยืนกรณีศึกษาลุ่มน้ำอิงตอนบนและตอนล่างen_US
dc.title.alternativeManagement of Water Resources of Kwan Phayao on Upstream and Downstream Case Study Upper and Lower Basin of Ing Riveren_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:ระดับปริญญาโท (Master Degree)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Watchara Limvisatsin.pdfWatchara Limvisatsin7.42 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.