Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.updc.clm.up.ac.th//handle/123456789/856
Title: การระบายมลพิษอากาศจากการเผาไหม้ในที่โล่งในจังหวัดพะเยา
Other Titles: Air Pollutant Emission from Open Burning in Phayao
Authors: เรือนเงิน, ธนัตถ์นพนันท์
Keywords: การเผาในที่โล่ง
ค่าปัจจัยการระบาย
บัญชีการระบายมลพิษอากาศ
Burning in the open air
Drainage factor
Air pollution ventilation account
Issue Date: 2555
Publisher: มหาวิทยาลัยพะเยา
Citation: http://tdc.thailis.or.th/tdc/browse.php?option=show&institute_code=191&bib=427&doc_type=0&TitleIndex=1
Abstract: การเผาชีวมวลเป็นแหล่งกำเนิดหลักของปัญหาฝุ่นละอองในเขตภาคเหนือของประเทศไทย บัญชีการปล่อยมลพิษอากาศ คือ สิ่งสำคัญที่ต้องการในการจัดการคุณภาพอากาศ ข้อมูลชุดแรกของการปล่อยมลพิษอากาศจากการเผาชีวมวลในจังหวัดพะเยาได้มีการพัฒนาขึ้น ในการศึกษานี้ บัญชีการปล่อยมลพิษอากาศได้พัฒนาสำหรับข้อมูลปี พ.ศ. 2553 โดยใช้ข้อมูลการสำรวจระยะไกล ผลการประมาณการปล่อยมลพิษรายปีมีปริมาณดังนี้ SO2 1,343 ตันต่อปี NOx 3,865 ตันต่อปี CO 252,328 ตันต่อปี NMVOC 45,459 ตันต่อปี NH3 4,086 ตันต่อปี PM 104 ตันต่อปี PM2.5 21,554 ตันต่อปี PM10 43,577 ตันต่อปี BC 1,618 ตันต่อปี OC 12,073 ตันต่อปีและมีการปล่อย ก๊าซเรือนกระจก CO2 3,801,622 ตันต่อปี CH4 16,533 ตันต่อปี จากการวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลง ตามพื้นที่และเวลา พบว่า พื้นที่ที่ถูกเผาที่พบมากที่สุด คือ อำเภอปง (55%) รองลงมา คือ อำเภอเชียงคำ อำเภอเชียงม่วน อำเภอเมือง อำเภอภูซาง อำเภอดอกคำใต้ อำเภอภูกามยาว อำเภอจุน และอำเภอแม่ใจ ตามลำดับ การเผาชีวมวลส่วนใหญ่พบในพื้นที่ป่าไม้ (93%) นอกจากนี้ยัง พบว่า การเผาส่วนใหญ่มีปริมาณมากในเดือนมีนาคม เมษายนและกุมภาพันธ์
URI: http://www.updc.clm.up.ac.th//handle/123456789/856
Appears in Collections:ระดับปริญญาโท (Master Degree)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thanutnopanun Ruanngern.pdfThanutnopanun Ruanngern2.11 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.