Please use this identifier to cite or link to this item:
http://www.updc.clm.up.ac.th//handle/123456789/495
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | ลาภเสถียร, นิภาภรณ์ | - |
dc.date.accessioned | 2020-10-01T09:43:28Z | - |
dc.date.available | 2020-10-01T09:43:28Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.citation | http://tdc.thailis.or.th/tdc/browse.php?option=show&institute_code=191&bib=1187&doc_type=0&TitleIndex=1 | en_US |
dc.identifier.uri | http://10.209.10.67:8080/handle/123456789/495 | - |
dc.description.abstract | วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ โต้แย้งสิทธิที่อยู่ภายใต้แนวคิดมนุษย์เป็นศูนย์กลางที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองสุขภาพอนามัยของมนุษย์ ในกลุ่มกฎหมายและนโยบายสาธารณสุขซึ่งเป็นวิธีการที่ไม่ยั่งยืน โดยใช้วิธีการศึกษาด้วยการวิเคราะห์เอกสารทางวิชาการที่เกี่ยวข้อง การศึกษานี้ได้นำเสนอวิธีการทางเลือกที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมในการบริหารจัดการแมลงพาหะนำโรค ซึ่งตั้งสมมติฐานอยู่บนแนวคิดของสิทธิในการดำรงชีวิตอยู่ในระบบนิเวศที่ดี ภายใต้แนวคิดนิเวศเป็นศูนย์กลาง วิทยานิพนธ์นี้ไม่เห็นด้วยกับกฎหมาย และนโยบายสาธารณสุขที่มุ่งเน้นแต่เพียงการคุ้มครองสิทธิของมนุษย์แต่เพียงอย่างเดียว แต่ควรคุ้มครองความสมบูรณ์ของระบบนิเวศด้วย ซึ่งนั่นก็เพราะว่ามนุษย์ต้องพึ่งพิงธรรมชาติ วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ให้ข้อเสนอเกี่ยวกับการคุ้มครองสิทธิในการดำรงชีวิตอยู่ในระบบนิเวศที่ดี เพื่อการจัดการแมลงพาหะนำโรคในระบบกฎหมายสาธารณสุข โดยยกตัวอย่างประกอบเฉพาะเรื่องการบริหารจัดการยุงพาหะนำโรค ผลของการศึกษาวิจัยปรากฏว่ากฎหมายและนโยบายต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับสาธารณสุขไม่ได้คำนึงถึงผลกระทบต่อระบบนิเวศ ดังนั้น มาตรการที่ใช้สารเคมีจึงถูกใช้อย่างเสรี โดยปราศจากข้อจำกัดไม่ว่ามาตรการนั้นจะมีคุณภาพในการทำลาย และกำจัดแมลงพาหะหรือไม่ ในทางกลับกันสารเคมีเหล่านั้นได้ปนเปื้อนในระบบนิเวศทุก ๆ ปี วิทยานิพนธ์ฉบับนี้นำเสนอทางเลือก ซึ่งอยู่บนพื้นฐานของสิทธิในการดำรงชีวิตอยู่ในระบบนิเวศที่ดี และการจัดการพาหะนำโรคแบบบูรณาการขององค์การอนามัยโลก ซึ่งควรถูกนำกลับมาพิจารณาใหม่ให้เป็นมาตรการทางกฎหมาย สำหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และกระทรวงสาธารณสุข ดังนี้ ความสำเร็จอาจเกิดขึ้นได้หากสิทธิในการดำรงชีวิตอยู่ในระบบนิเวศที่ดีได้รับการยอมรับให้เป็นหลักการทางกฎหมายต่อไป | en_US |
dc.description.sponsorship | มหาวิทยาลัยพะเยา | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยพะเยา | en_US |
dc.subject | สิทธิในการดำรงชีวิตอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดี | en_US |
dc.subject | สิทธิในการดำรงชีวิตอยู่ในระบบนิเวศที่ดี | en_US |
dc.subject | พาหะนำโรค | en_US |
dc.subject | การจัดการพาหะนำโรคแบบบูรณาการ | en_US |
dc.subject | The rights to live in healthy environment | en_US |
dc.subject | The rights to live in a healthy ecosystem | en_US |
dc.subject | Contagion | en_US |
dc.subject | Integrated vector management | en_US |
dc.title | มาตรการทางกฎหมายและนโยบายในการจัดการพาหะนำโรคแบบบูรณาการภายใต้แนวคิดสิทธิในการดำรงชีวิตอยู่ในระบบนิเวศที่ดี | en_US |
dc.title.alternative | Legal and Policy Measurement for Integrated Vector Management under the Concept of the Right to Live in a Healthy Ecosystem | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
Appears in Collections: | ระดับปริญญาโท (Master Degree) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Nipaporn Lapsatian.pdf | Nipaporn Lapsatian | 1.54 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.