Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.updc.clm.up.ac.th//handle/123456789/210
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorมันจันดา, วิชัย-
dc.date.accessioned2020-04-24T08:33:10Z-
dc.date.available2020-04-24T08:33:10Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.citationhttp://tdc.thailis.or.th/tdc/browse.php?option=show&institute_code=191&bib=1501&doc_type=0&TitleIndex=1en_US
dc.identifier.urihttp://10.209.10.67:8080/handle/123456789/210-
dc.description.abstractการศึกษาเรื่อง การบริหารการศึกษาอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา จังหวัดพะเยา มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาสภาพการบริหารการศึกษาอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา จังหวัดพะเยา เพื่อศึกษาปัญหาและแนวทางการแก้ไขปัญหาการบริหารการศึกษาอาชีวศึกษา ระบบทวิภาคีของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา จังหวัดพะเยา ประชากรที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้มีจำนวนทั้งหมด 238 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลวิจัยพบว่า 1) สภาพการบริหารการศึกษาอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา จังหวัดพะเยา ทั้ง 4 ด้าน คือด้านคุณภาพผู้สำเร็จการศึกษา ด้านหลักสูตร ด้านความร่วมมือระหว่างสถานประกอบการกับสถานศึกษา ด้านการวัดและประเมินผลโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก 2) ปัญหาและแนวทางการแก้ไขปัญหาการบริหารการศึกษาอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา จังหวัดพะเยา ทั้ง 4 ด้าน คือ ด้านคุณภาพผู้สำเร็จการศึกษา ด้านหลักสูตร ด้านความร่วมมือระหว่างสถานประกอบการกับสถานศึกษา ด้านการวัดและประเมินผลโดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง 3) ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับปัญหาการบริหารการศึกษาอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี ดังนี้ ด้านผู้สำเร็จการศึกษาผู้เรียนมีทักษะเฉพาะด้านในด้านที่ตนเองฝึกปฏิบัติอาชีพในสถานประกอบการทำให้ขาดทักษะในด้านอื่น ๆ และผู้เรียนขาดการเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาในด้านอื่น ๆ กับทางสถานศึกษา ด้านหลักสูตรการสอนในสถานประกอบการไม่สอดคล้องกับแผนฝึกอาชีพ ด้านความร่วมมือระหว่างสถานศึกษาและสถานประกอบการ สถานประกอบการบางแห่งยังไม่มีความเข้าใจเรื่องการจัดการศึกษาระบบทวิภาคี ด้านการวัดผลและประเมินผล ครูผู้สอนไม่สามารถไปนิเทศตามเกณฑ์ 3 ครั้งในหนึ่งภาคเรียนได้และไม่มีการนำผลการประเมินมาพัฒนาผู้เรียน 4) ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแนวทางแก้ไขปัญหา การบริหารการศึกษาอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี ดังนี้ ด้านผู้สำเร็จการศึกษา หลังจากฝึกอาชีพเสร็จควรมีการประเมินความรู้และจัดอบรมในส่วนที่ผู้เรียนขาดหาย และให้ผู้เรียนทำกิจกรรมร่วมกับสถานประกอบการและให้สถานประกอบการประเมินให้สถานศึกษา ด้านหลักสูตรก่อนฝึกอาชีพ ควรมีการจัดทำแผนร่วมก่อนฝึกอาชีพและครูนิเทศติดตามผลตามแผนการฝึกอาชีพ ด้านความร่วมมือระหว่างสถานศึกษาและสถานประกอบการ จัดประชุมแนวทางการจัดการเรียนการสอนระบบทวิภาคีก่อนส่งผู้เรียนออกฝึกอาชีพที่สถานประกอบการ ด้านการวัดผลและประเมินผลนิเทศทางสื่อสังคมออนไลน์และเทคโนโลยีสารสนเทศต่าง ๆ ร่วมสถานประกอบการ และหลังจากมีการฝึกอาชีพเสร็จสิ้นแล้วควรจัดประชุมเพื่อวิเคราะห์การประเมินผู้เรียนen_US
dc.description.sponsorshipมหาวิทยาลัยพะเยาen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยพะเยาen_US
dc.subjectอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีen_US
dc.subjectDual vocational training programen_US
dc.titleการบริหารการศึกษาอาชีวศึกษา ระบบทวิภาคีของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา จังหวัดพะเยาen_US
dc.title.alternativeThe Dual Vocational Training Program Management for the College in Phayao of Vocational Education Commissionen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:ระดับปริญญาโท (Master Degree)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60206880.pdfWichai Munjunda1.61 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.