Please use this identifier to cite or link to this item:
http://www.updc.clm.up.ac.th//handle/123456789/1856
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | จิรเดโชชัย, ภาณุพงษ์ | - |
dc.contributor.author | ภวภูตานนท์ ณ มหาสารคาม, จันทร์ธิดา | - |
dc.contributor.author | ธาริยะ, กุลวรา | - |
dc.contributor.author | ธีรโสภณ, พรพัฒน์ | - |
dc.contributor.author | ธรรมแสง, ดลพร | - |
dc.contributor.author | จันทร์สุนทรภาส, อานนท์ชัย | - |
dc.date.accessioned | 2023-03-02T02:37:39Z | - |
dc.date.available | 2023-03-02T02:37:39Z | - |
dc.date.issued | 2557 | - |
dc.identifier.uri | http://www.updc.clm.up.ac.th//handle/123456789/1856 | - |
dc.description.abstract | การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบการรั่วซึมบริเวณคลองรากฟันส่วนปลายของวัสดุอุดคลองรากฟันระบบเรซิลอนยี่ห้อเรียลซีล เมื่อใช้ร่วมกับเรียลซีลไพรเมอร์และใช้สารยึดติดชนิดเซล์ฟเอชแบบขั้นตอนเดียวของสก๊อตบอนด์ ยูนิเวอร์แซล โดยใช้ฟันกรามน้อยล่างรากเดียว 36 ซี่ ตัดส่วนตัวฟันออกให้เหลือความยาวรากฟัน 14 มิลลิเมตร และเตรียมคลองรากฟันจนถึงมาสเตอร์เอพิคอลไฟล์ขนาด 40 แบ่งฟันเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมอย่างละ 2 กลุ่ม กลุ่มทดลองที่ 1 ใช้เรียลซีลไพรเมอร์ร่วมกับเรียลซีล ซีลเลอร์ กลุ่มทดลองที่ 2 ใช้ซิงเกิลบอนด์ ยูนิเวอร์แซลที่มีสกอตบอนด์ ยูนิเวอร์แซล ดีซีเอ ดูอัลเคียวเป็นตัวกระตุ้นร่วมกับเรียลซีลซีลเลอร์ กลุ่มควบคุมบวกเป็นกลุ่มที่อุดคลองรากฟันโดยไม่ใช้ซีลเลอร์ กลุ่มควบคุมลบเป็นกลุ่มที่อุดคลองรากฟันเช่นเดียวกับกลุ่มที่ 1 แล้วนำฟันมาเคลือบน้ำยาทาเล็บสองชั้น ตลอดความยาวซี่ฟันรวมบริเวณปลายรากฟัน จากนั้นจึงแช่ปลายรากฟันในสารละลายเมทิลีนบลูความเข้มข้นร้อยละ 2 เป็นเวลา 24 ชั่วโมง แล้ววัดค่าการรั่วซึมของสีด้วยกล้องจุลทรรศน์ วัดระยะที่กำลังขยาย 1000 เท่า ผลการทดลองพบว่า ค่าเฉลี่ยของระยะการรั่วซึม ในกลุ่มทดลองที่ 1 และ 2 คือ 4.51 ± 1.12 มิลลิเมตร และ 3.85 ± 0.96 มิลลิเมตร ตามลำดับ กลุ่มควบคุมบวกพบการรั่วซึมทุกซี่ และกลุ่มควบคุมลบไม่พบการรั่วซึม ทุกกลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยการรั่วซึมบริเวณปลายรากฟันแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับกลุ่มควบคุมลบ (p<0.001) แต่ในระหว่างกลุ่มทดลองที่ 1 กลุ่มทดลองที่ 2 และกลุ่มควบคุมบวกมีค่าเฉลี่ย การรั่วซึมบริเวณปลายรากฟันไม่แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p=0.285, 0.853, 0.102 ตามลำดับ) จากการศึกษาครั้งนี้ พบว่า ซิงเกิลบอนด์ ยูนิเวอร์แซล ไม่เพิ่มความสามารถของวัสดุเรียลซีลในการผนึกรอยรั่วบริเวณปลายราก | en_US |
dc.description.sponsorship | มหาวิทยาลัยพะเยา | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยพะเยา | en_US |
dc.subject | เรซิลอน | en_US |
dc.subject | วัสดุอุดคลองรากฟัน | en_US |
dc.subject | ระบบสารยึดติดเซลฟ์เอทช์ | en_US |
dc.subject | การรั่วซึมบริเวณปลายราก | en_US |
dc.subject | เรียลซีล | en_US |
dc.subject | Resilon | en_US |
dc.subject | Root canal filling material | en_US |
dc.subject | Self-etching adhesive system | en_US |
dc.subject | Apical leakage | en_US |
dc.subject | RealSeal | en_US |
dc.title | การประเมินความสามารถในการผนึกรอยรั่วบริเวณปลายรากฟันเมื่ออุดคลองรากฟันด้วยวัสดุเรียลซีลร่วมกับระบบสารยึดติดเซลฟ์เอทช์เปรียบเทียบกับการอุดคลองรากฟันด้วยวัสดุเรียลซีล | en_US |
dc.title.alternative | Evaluation of The Apical Sealing Ability of RealSealTM Sealer in Combination with Self-Etching Adhesive System Comparing with Conventional RealSealTM System | en_US |
dc.type | Article | en_US |
Appears in Collections: | Research |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Panupong Jiradechochai.pdf | Panupong Jiradechochai | 579.59 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.