Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.updc.clm.up.ac.th//handle/123456789/1693
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorสอนวดี, กาญจนา-
dc.contributor.authorจำเริญพัฒน์, กรวุฒิ-
dc.date.accessioned2022-08-23T03:49:49Z-
dc.date.available2022-08-23T03:49:49Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttp://www.updc.clm.up.ac.th//handle/123456789/1693-
dc.description.abstractในงานวิจัยนี้ได้ทำการศึกษาการสังเคราะห์ TiO2/FeSO4 bimetallic composites ซึ่งใช้วิธีการสังเคราะห์การตกตะกอนร่วมกับคลื่นอัลตร้าโซนิค โดยใช้ตัวทำละลายเป็นเอทานอลและน้ำในอัตราส่วน 1:1 สาร bimetallic composite ที่ได้จากการสังเคราะห์นี้ นำไปศึกษาคุณลักษณะด้วยเทคนิคเอกซเรย์ดิฟแฟรกโทมิเตอร์ พบตำแหน่งของ TiO2 ที่ 2θ = 29.5°, 43.2°, 45. 2°, 56.5°, 63.5° และพบตำแหน่งของ Fe2O3 ที่ 2θ = 28.2°, 38.8°, 41.8°, 47.8° และ 58.2° ซึ่งจะยืนยันว่าวิธีการสังเคราะห์ในครั้งนี้สามารถสังเคราะห์สารผสมระหว่าง TiO2 และ Fe2O3 ได้และทำการศึกษาข้อมูลทางสเปกโทรสโกปี โดยใช้เทคนิค ยูวี-วิสิเบิลสเปกโทรโฟโตมิเตอร์ พบช่วงการดูดแสงอยู่ที่ 370 นาโนเมตร ซึ่งอยู่ในช่วงของคลื่นยูวี นอกจากนี้ได้ทำการระบุเลขออกซิเดชั่น โดยเทคนิคเอกซเรย์แอบซอร์ปชันสเปกโทรสโกปี พบตำแหน่งของค่า °E ของ สารหนู (V) มีค่า normalized, 1st derivative, 2nd derivative, R-space ที่ 11877.77 eV, 11876.35 eV, 11877.68 eV และ 1.30865 Å ตามลำดับ ซึ่งข้อมูลนี้สามารถใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการบ่งชี้ถึงชนิดของสารหนูในสารตัวอย่างที่ถูกดูดซับบน TiO2 หรือ Fe2O3 และ bimetallic composite ได้จากการศึกษาวิธีการสังเคราะห์ TiO2/FeSO4 bimetallic composites ในอนาคตอาจมีการนำไปประยุกต์ใช้ประโยชน์ในปฏิกิริยาทางแสงได้ และใช้ในการกำจัดสารหนูที่ปนเปื้อนอยู่ในธรรมชาติได้en_US
dc.description.sponsorshipมหาวิทยาลัยพะเยาen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยพะเยาen_US
dc.subjectTiO2/Fe2O3 ไบเมทัลลิกคอมโพสิทen_US
dc.subjectสภาวะออกซิเดชันen_US
dc.subjectสารหนูen_US
dc.subjectเทคนิคเอกซ์เรย์ดิฟแฟรกชันสเปกโทรสโคปีen_US
dc.subjectเทคนิคยูวี-วิสิเบิลสเปกโทรโฟโตมิเตอร์en_US
dc.subjectเทคนิคเอ็กซ์เรย์แอบซอร์บชันสเปกโทรสโกปen_US
dc.subjectการตกตะกอนร่วมen_US
dc.subjectTiO2/Fe2O3 bimetallic compositesen_US
dc.subjectArsenicen_US
dc.subjectOxidation stateen_US
dc.subjectX-ray Diffraction spectroscopyen_US
dc.subjectUV-visible spectroscopyen_US
dc.subjectX-ray absorption spectroscopyen_US
dc.subjectCo-precipitationen_US
dc.titleการระบุเลขออกซิเดชันของสารหนู (V) โดยใช้เทคนิคซินโครตรอนเบส เอ็กสเรย์สเปกโทสโกปีen_US
dc.title.alternativeIdentification of as (V) Using Synchrotron Based X-Ray Absorption Spectroscopyen_US
dc.typeOtheren_US
Appears in Collections:คณะวิทยาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kanjana Sornwadee.pdfKanjana Sornwadee3.56 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.