Please use this identifier to cite or link to this item:
http://www.updc.clm.up.ac.th//handle/123456789/2464
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | เฟืองอุย, อุษณีษ์ | - |
dc.date.accessioned | 2023-12-01T02:32:19Z | - |
dc.date.available | 2023-12-01T02:32:19Z | - |
dc.date.issued | 2565 | - |
dc.identifier.citation | http://202.28.199.150/dcupload_/mainmetadata.php?option=edit&SelectDocType=0&bib=2045 | en_US |
dc.identifier.uri | http://www.updc.clm.up.ac.th//handle/123456789/2464 | - |
dc.description.abstract | ผู้คนนิยมเลี้ยงสัตว์ไว้เป็นเพื่อนแก้เหงาเนื่องจากสภาพสังคม และความกดดันที่ต้องเผชิญในชีวิตประจำวัน สัตว์เลี้ยงจึงเป็นคำตอบสำหรับการคลายเครียดและพักผ่อน ซึ่งปัจจุบันสัตว์ที่ถูกนำมาเลี้ยงเริ่มมีความหลากหลายชนิดมากยิ่งขึ้น ทำให้กฎหมายต้องพัฒนาตามเพื่อป้องกัน และควบคุมไม่ให้เกิดความวุ่นวายและเสียหายต่อสังคม สำหรับประเทศไทยได้ตราพระราชบัญญัติป้องกันการทารุณกรรม และการจัดสวัสดิภาพสัตว์มาบังคับในปี พ.ศ. 2557 โดยมีจุดประสงค์คุ้มครองไม่ให้สัตว์ถูกกระทำทารุณกรรม และเจ้าของสัตว์จะต้องจัดสวัสดิภาพให้เหมาะสม ตามประเภทและชนิดของสัตว์ เพื่อป้องกันความเสียหายที่เกิดจากสุนัขขนาดใหญ่ อันเนื่องมาจากสายพันธุ์หรือพฤติกรรมตามสัญชาตญาณของสุนัข วิจัยฉบับนี้จึงมุ่งศึกษามาตรการทางกฎหมายที่เกี่ยวกับหลักการจัดสวัสดิภาพสัตว์ กรณีการเลี้ยงสุนัขพันธุ์ใหญ่ที่พบการเลี้ยงในประเทศไทย เปรียบเทียบกับมาตรการทางกฎหมายที่เกี่ยวกับการจัดสวัสดิภาพสัตว์ กรณีสุนัขของประเทศอเมริกา ออสเตรเลีย และสิงคโปร์ ประกอบกับมาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับการขึ้นทะเบียน และเก็บภาษีสุนัขของประเทศอเมริกา สิงคโปร์ และเนเธอร์แลนด์ จากการศึกษาพบว่า มาตรการทางกฎหมายของต่างประเทศให้ความสำคัญ ในด้านการจัดสวัสดิภาพสัตว์อย่างเข้มงวด โดยเริ่มจากกระบวนการขึ้นทะเบียนสุนัข การทำหมัน อัตราค่าธรรมเนียมที่เอื้อให้ผู้เลี้ยงสมัครใจ นำสุนัขเข้าร่วมการจดทะเบียน การกำหนดมาตรฐานขั้นต่ำให้ผู้เลี้ยงใช้เป็นข้อปฏิบัติพื้นฐานในการเลี้ยงสุนัข เพื่อให้สุนัข ผู้เลี้ยง และบุคคลอื่นอยู่ร่วมกันได้ โดยเกิดความเสียหายน้อยที่สุด รวมถึงทางออกสุดท้ายสำหรับผู้ที่ไม่สามารถเลี้ยงสุนัขต่อได้ ผู้วิจัยจึงขอเสนอให้มีมาตรการทางกฎหมายสำหรับการเลี้ยงสุนัขขนาดใหญ่ ที่จะนำไปสู่หนทางในการจัดสวัสดิภาพกับสัตว์เลี้ยงอื่น ๆ ต่อไป โดยนำมาตรการทางกฎหมายต่างประเทศมาประยุกต์ใช้กับการเลี้ยงสุนัขขนาดใหญ่ภายในประเทศ | en_US |
dc.description.sponsorship | มหาวิทยาลัยพะเยา | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยพะเยา | en_US |
dc.subject | การจัดสวัสดิภาพสัตว์ | en_US |
dc.subject | สุนัขพันธุ์ใหญ่ | en_US |
dc.subject | มาตรการทางกฎหมาย | en_US |
dc.subject | Legal Measures | en_US |
dc.subject | Large-Sized Dogs | en_US |
dc.subject | Animal Welfare | en_US |
dc.title | มาตรการทางกฎหมายสำหรับการจัดสวัสดิภาพสัตว์กรณีศึกษา สุนัขพันธุ์ใหญ่ | en_US |
dc.title.alternative | Legal Measures for Animal Welfare : A case Study of Big-Dog | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
Appears in Collections: | ระดับปริญญาโท (Master Degree) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Usanee Fueng-oui.pdf | Usanee Fueng-oui | 5.28 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.