Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.updc.clm.up.ac.th//handle/123456789/2162
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorวังอะโศก, หยาดพิรุณ-
dc.date.accessioned2023-08-22T04:35:57Z-
dc.date.available2023-08-22T04:35:57Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.citationhttp://tdc.thailis.or.th/tdc/browse.php?option=show&institute_code=191&bib=1068&doc_type=0&TitleIndex=1en_US
dc.identifier.urihttp://www.updc.clm.up.ac.th//handle/123456789/2162-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาแบบกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาข้อมูลส่วนบุคคลของนักเรียน 2) เพื่อศึกษาสภาวะทันตสุขภาพของเด็กนักเรียน 3) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบ ความรู้ การรับรู้ความสามารถของตนเอง พฤติกรรมการป้องกันโรคฟันผุและโรคเหงือกอักเสบ สภาวะทันตสุขภาพ และปริมาณคราบจุลินทรีย์ ในเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 4–6 โรงเรียนในเขตตำบลสะเอียบ อำเภอสอง จังหวัดแพร่ โดยทำการศึกษาจากประชากร จำนวน 60 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามและแบบบันทึกสภาวะทันตสุขภาพ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ แจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติ Wilcoxon Signed Rank test ผลการศึกษาพบว่า ภายหลังการให้โปรแกรมทันตสุขศึกษา คะแนนเฉลี่ยด้านความรู้เกี่ยวกับทันตสุขภาพ การรับรู้ความสามารถของตนเอง การปฏิบัติตัวในการป้องกันโรคฟันผุและโรคเหงือกอักเสบ สูงกว่าก่อนการให้โปรแกรมทันตสุขศึกษา อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (P < 0.001) สภาวะโรคฟันผุ เหงือกอักเสบ และปริมาณคราบจุลินทรีย์ลดลงกว่าก่อนการให้โปรแกรมทันตสุขศึกษา อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (P < 0.001)en_US
dc.description.sponsorshipมหาวิทยาลัยพะเยาen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยพะเยาen_US
dc.subjectนักเรียนen_US
dc.subjectทันตสุขศึกษาen_US
dc.subjectการดูแลสุขภาพช่องปากen_US
dc.subjectนักเรียนชั้นประถมศึกษาen_US
dc.subjectStudenten_US
dc.subjectDental health educationen_US
dc.subjectOral health careen_US
dc.subjectElementary school studentsen_US
dc.titleการศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมทันตสุขศึกษาต่อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากในเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 - 6 โรงเรียนในเขตตำบลสะเอียบ อำเภอสอง จังหวัดแพร่en_US
dc.title.alternativeEfficacy Study of the Dental Health Education Program on Oral Health Care Behaviors Among School Children Grade 4-6 in Saeab Subdistrict, Song District, Phrae Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:ระดับปริญญาโท (Master Degree)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Yadpirun Wungasok.pdfYadpirun Wungasok2.51 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.