Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.updc.clm.up.ac.th//handle/123456789/1720
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorแสนเมือง, ทิวาทิพย์-
dc.date.accessioned2022-08-29T06:24:42Z-
dc.date.available2022-08-29T06:24:42Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.citationhttp://tdc.thailis.or.th/tdc/browse.php?option=show&institute_code=191&bib=460&doc_type=0&TitleIndex=1en_US
dc.identifier.urihttp://www.updc.clm.up.ac.th//handle/123456789/1720-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยแบบกึ่งทดลอง แบบกลุ่มเดียววัดก่อนและหลังการทดลอง โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลการให้สุขศึกษา ความรู้ ความเชื่อด้านสุขภาพ และพฤติกรรม การป้องกันโรคขาดสารไอโอดีนในหญิงตั้งครรภ์ กลุ่มตัวอย่างได้จากการเลือกแบบ เฉพาะเจาะจง จำนวน 30 คน ใช้แบบแผนการให้สุขศึกษา แบบทดสอบก่อน และหลังการให้สุขศึกษา 7 สัปดาห์ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นและได้ตรวจสอบ คุณภาพอยู่ในเกณฑ์ที่ยอมรับได้ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที (t-test) ผลการวิจัย ภายหลังการทดลองในหญิงตั้งครรภ์ของกลุ่มตัวอย่าง พบว่า มีปัจจัยด้านคุณลักษณะบุคคล ได้แก่ ความรู้เกี่ยวกับโรคขาดสารไอโอดีน การรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการเกิด โรคขาดสารไอโอดีน การรับรู้ความรุนแรงของโรคขาดสารไอโอดีน การรับรู้ประโยชน์ของ การป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน การรับรู้อุปสรรคในการปฏิบัติการป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน และพฤติกรรมการป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน สูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ผลการวิจัยนี้แสดงให้เห็นว่า สุขศึกษาตามแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพในการป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน สามารถนำไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิผลen_US
dc.description.sponsorshipมหาวิทยาลัยพะเยาen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยพะเยาen_US
dc.subjectผลการให้สุขศึกษาen_US
dc.subjectแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพen_US
dc.subjectการป้องกันโรคขาดสารไอโอดีนen_US
dc.subjectหญิงตั้งครรภ์en_US
dc.subjectHealth education resultsen_US
dc.subjectHealth belief patternen_US
dc.subjectIodine Deficiency Disease Preventionen_US
dc.subjectPregnant womenen_US
dc.titleผลการให้สุขศึกษาตามแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพในการป้องกันโรคขาดสารไอโอดีนในหญิงตั้งครรภ์ ตำบลแม่ข่าวตาม อำเภอเมือง จังหวัดเชียงรายen_US
dc.title.alternativeEffectiveness of Health Education Based on Health Belief Model for Preventing Iodine Deficiency in Mae Kaw Tom, Muang District, Chiang Rai Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:ระดับปริญญาโท (Master Degree)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thiwathip Sanmuang.pdfThiwathip Sanmuang2.58 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.